แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ศูนย์ดูแลพระราม2 แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ศูนย์ดูแลพระราม2 แสดงบทความทั้งหมด

วันพฤหัสบดีที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ สาขาพระราม2-บางขุนเทียน-ท่าข้าม

       ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ  โฮมแคร์
           



      สถานรับดูแลผู้สูงอายุทั้งแบบประจำและไปกลับ ผู้ป่วยที่ดูแลช่วยเหลือตัวเองได้น้อย 
ใส่สายสวนปัสสาวะ ใส่สายให้อาหาร มีแผลกดทับ ดูแลด้วยพยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาลที่มีประสบการด้านการดูแลผู้สูงอายุ
สถานรับดูแลผู้สูโรคประจำตัว ทานยาต่อเนื่อง พักฟื้นหลังผ่าตัด เส้นเลือดในสมองตีบ ตัน อ่อนแรงต้องทำกายภาพ บำบัดบรรยากาศโล่ง  ขนาด 350 ตรว.โปร่ง สะอาด ไม่แออัด มีบริเวณบ้าน ห้องแอร์ น้ำอุ่น ทีวี  มีผู้ดูแล ผู้ช่วยพยาบาลดูแลตลอด 24 ชัวโมง
การเดินทางใกล้เซ็นทรัลพระราม 2 ซอยอนามัยงามเจริญ 23(ตรงข้ามโรงเรียนวัดท่าข้าม)





ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุพระราม2





ติดต่อเยี่ยมชมสถานที่ 9.00 น.-19.00 น.
สาขาบ้านวชิรธรรม 55   TEL.02-746-4838,095-834-5666
สาขาสุขุมวิท 107 ซอยแบริ่ง 17/5    TEL.096-405-1562
สาขาแบริ่ง  36  TEL.02-041-3977,096-405-1562
สาขาซอยอนามัยงามเจริญ 23   TEL.  02-003-2424

ราคา 16000-20000 บาท
 www.ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ.com

sansirinursingthailand.org

www.sansirihomecare.com

                                                           
                                                             Sansiri Home Care



แสนสิริ โฮม แคร์ สาขาอนามัยงามเจริญ 23


แผนทีสาขาสุขุมวิท 101/1


แผนที่สาขาแบริ่ง 17/5

         
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮม แคร์ สาขาแบริ่ง 36


open





วันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

การดูแลผู้สูงอายุทีมีภาวะสมองเสื่อม



ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ พระราม2


 โรคสมองเสื่อม ภาวะสมองเสื่อมเป็นแค่อาการแสดงอย่างหนึ่ง ของโรค ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ ความหมายโดยทั่วไปของสมองเสื่อมคือ การด้อยประสิทธิภาพในการทำงานของสมองทุกๆ ด้าน แบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น ความสามารถในการเรียนรู้ ความจำเลวลง การคำนวณ หรือการใช้ความคิดที่สลับ ซับซ้อน รวมถึงประสิทธิภาพทางการสื่อภาษา การแสดงอารมณ์ที่ผิดจากเดิม โกรธ ไม่กิน ไม่นอน สาเหตุของโรคสมองเสื่อม 1. สมองเสื่อมจากวัยชรา 2.โรคอัลไซเมอร์ 3. เกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ 4. ภาวะเลือดคั่งในสมอง หรือเนื้องอกในสมอง 5. ภาวะขาดวิตามิน บี12 6. โรคติดเชื้อที่มีผลทางสมอง 7. สมองเสื่อมจากการติดสุราเรื้อรังนานๆ ภาวะที่เกิดตามหลังการขาดออกซิเจน



  



 หลักการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
 1. ผู้ดูแล,ญาติ,คนรอบข้าง ต้องเข้าใจภาวะสมองเสื่อมที่เกิดขึ้น - ไม่โกรธ หรือโมโห ถ้าผู้ป่วยทำอะไรไม่เหมาะสม - อาการหรือพฤติกรรมที่เกิดขึ้น เกิดจากโรคที่ทำให้มีอาการเช่นนั้น - ไม่หัวเราะ หรือขำพฤติกรรมต่างๆ เพราะอาจกระตุ้นอาการได้ - ไม่พยายามบังคับให้ผู้ป่วยจำ หรือทำในสิ่งที่ไม่คุ้นเคย - ถ้าผู้ป่วยหงุดหงิด ควรหยุดพฤติกรรมทันที - ยืดหยุ่น ปรับตัว และยอมรับการเปลี่ยนแปลง - ลดความคาดหวังในตัวผู้ป่วยลง 2. ดูแลเหมือนผู้ใหญ่ท่านหนึ่ง ที่ต้องให้ : - ความเคารพ (ให้เกียรติในการตัดสินใจบางอย่าง) ขอความเห็น , บอกให้ทราบ - ความเอาใจใส่ ถามความรู้สึก 3. การจัดสภาพแวดล้อม ให้ผู้ป่วยอยู่ในที่คุ้นเคย เช่น บ้านตนเอง, เครื่องใช้ในบ้าน ไม่ควรมีการเคลื่อนย้ายบ่อย หรือไม่เป็นระเบียบ, สิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไม่ลื่นล้มง่าย, การเปิดวิทยุ,โทรทัศน์ไม่ควรมีเสียงดังหรือเร็วเกินไป, ควรมีผู้ดูแลประจำ, ระวังการตกระเบียง, ระวังเรื่องไฟ,ทางเดินไปห้องน้ำควรสะดวก ชัดเจน,แสงสว่างเพียงพอในที่ที่ผู้ป่วยเดินไปถึง ระวังแสงที่ทำให้เกิดเงา,กระจกควรมีเฉพาะที่แต่งตัวและที่อาบน้ำ


www.sansirihomecare.com

วันอาทิตย์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์ พระราม2 ประชาอุทิศ บางมด บางขุนเทียน (เฟสใหม่) โปรโมชั่น 16000/เดือน

 

ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์ พระราม2 ประชาอุทิศ บางมด บางขุนเทียน (เฟสใหม่)
โปรโมชั่น 16000/เดือน
สนใจติดต่อเยี่ยมชมสถานที่
02-003-2424, 090-569-7945

วันเสาร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์ สาขาแบริ่ง 36









ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮม แคร์ สาขาแบริ่ง 36

ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ สาขาแบริ่ง 36 ดำเนินการเปิดให้บริการควบคู่กับศูนย์กายภาพบำบัดครบวงจร พร้อมเปิดให้บริการสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีโรคประจำตัว ต้องทานยาต่อเนื่องและควบคุมอาหาร ทั้งเบาหวาน ความมดัน ทำกายภาพบำบัดในผู้สูงอายุที่มีปัญหาการเคลื่อนไหวช่วยเหลือตัวเองได้น้อย โดยมีนักกายภาพบำบัดวิชาชีพ ดูแลต่อเนื่องทุกอาทิตย์ (วัน จ-ศ จะมีพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาลทำกายภาพต่อเนื่องตามคำแนะนำของนักกายภาพวิชาชีพ) อากาศดี เป็นส่วนตัวอาคารชั้นเดียว พื้นที่ 400 ตรว. เป็นห้องแอร์ ทีวี น้ำอุ่น กว้าง โปร่ง บรรยากาศสวน ใกล้ BTS
รูปแบบผู้รับบริการ
1.ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย/ไม่ได้ เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
2.ผู้สูงอายุสมองเสื่อม(อัลไซเมอร์)
3.ผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือสมองตีบ ตัน แตก มีภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพฤกษ์อัมพาต ฟื้นฟูกายภาพบำบัด
4.ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเช่น เบาหวาน ความดัน ทานยาต่อเนื่องและควบคุมอาหาร
5.ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยที่มีแผลเบาหวาน รักษาแผลกดทับ
6.ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหลัง เข่า สะโพก พักฟื้นทำกายภาพบำบัด
7.ผู้ป่วยเจาะคอ ติดเตียง ให้อาหารทางสายยาง มีสายสวนปัสสาวะ
การบริการ
1. ผู้ดูแลตลอด 24 ชั่วโมง
 2. การดูแลความสะอาดร่างกาย เสื้อผ้า ของใช้ส่วนตัว
 3.  อาหาร 3 มื้อ พร้อมอาหารว่าง(อาหารปั่นสำหรับผู้ให้อาหารทางสายยาง)  
4. กายภาพบำบัด 1 ครั้ง/วัน(โดยผู้ช่วยพยาบาลตามอาการผู้สูงอายุหรือผู้ป่วย)
5.ที่พักปรับอากาศพร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องทำน้ำอุ่น ทีวี  
6.มีเตียงลม,ครื่องดูดเสมหะ 
7.บริการกายภาพโดยบำบัดวิชาชีพ 1 ครั้ง/สัปดาห์(มีส่วนลดใช้บริการ”แสนสิริ คลีนิคกายภาพบำบัด”)
8.ไม่คิดค่าบริการ ค่าทำแผลกดทับ 

อัตราค่าบริการดังกล่าว ไม่รวม ผ้าอ้อม แผ่นรอง สายดูดเสมหะ อุปกรณ์ทำแผล  
สอบถาม-ติดต่อเยี่ยมชมสถานที่ 096-405-1562,090-569-7945
02-051-5283
ราคาเริ่ม 16,000 บาท/เดือน


ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์ มี 4 สาขา

สาขาสุขุมวิท 101/1  TEL.02-746-4838

สาขาพระราม2-บางขุนเทียน   TEL.02-003-2424,095-896-3595

สาขาสุขุมวิท 107 (ซอยแบริ่ง 17/5) TEL.095-405-1562



วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2561

ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮม แคร์ บริการด้วยใจ

ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮม แคร์ สาขาแบริ่ง 36
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ ได้ดำเนินการเปิดให้บริการควบคู่กับศูนย์กายภาพบำบัดครบวงจร พร้อมเปิดให้บริการสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีโรคประจำตัว ต้องทานยาต่อเนื่องและควบคุมอาหาร ทั้งเบาหวาน ความมดัน ทำกายภาพบำบัดในผู้สูงอายุที่มีปัญหาการเคลื่อนไหวช่วยเหลือตัวเองได้น้อย โดยมีนักกายภาพบำบัดวิชาชีพ ดูแลต่อเนื่องทุกอาทิตย์ (วัน จ-ศ จะมีพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาลทำกายภาพต่อเนื่องตามคำแนะนำของนักกายภาพวิชาชีพ) อากาศดี เป็นส่วนตัวอาคารชั้นเดียว พื้นที่ 400 ตรว. เป็นห้องแอร์ ทีวี น้ำอุ่น กว้าง โปร่ง บรรยากาศสวน ใกล้ BTS
รูปแบบผู้รับบริการ
1.ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย/ไม่ได้ เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
2.ผู้สูงอายุสมองเสื่อม(อัลไซเมอร์)
3.ผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือสมองตีบ ตัน แตก มีภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพฤกษ์อัมพาต ฟื้นฟูกายภาพบำบัด
4.ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเช่น เบาหวาน ความดัน ทานยาต่อเนื่องและควบคุมอาหาร
5.ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยที่มีแผลเบาหวาน รักษาแผลกดทับ
6.ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหลัง เข่า สะโพก พักฟื้นทำกายภาพบำบัด
7.ผู้ป่วยเจาะคอ ติดเตียง ให้อาหารทางสายยาง มีสายสวนปัสสาวะ
การบริการ
1. ผู้ดูแลตลอด 24 ชั่วโมง
 2. การดูแลความสะอาดร่างกาย เสื้อผ้า ของใช้ส่วนตัว
 3.  อาหาร 3 มื้อ พร้อมอาหารว่าง(อาหารปั่นสำหรับผู้ให้อาหารทางสายยาง)  
4. กายภาพบำบัด 1 ครั้ง/วัน(โดยผู้ช่วยพยาบาลตามอาการผู้สูงอายุหรือผู้ป่วย)
5.ที่พักปรับอากาศพร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องทำน้ำอุ่น ทีวี  
6.มีเตียงลม,ครื่องดูดเสมหะ ไม่คิดค่าบริการ ค่าไฟ (เป็นของที่เตรียมไว้ประจำศูนย์)
7.บริการกายภาพโดยบำบัดวิชาชีพ 1 ครั้ง/สัปดาห์(มีส่วนลดใช้บริการ”แสนสิริ คลีนิคกายภาพบำบัด”)
8.ไม่คิดค่าบริการ เปลี่ยสายสวนปัสสาวะ สายให้อาหาร ค่าทำแผลกดทับ 
อัตราค่าบริการดังกล่าว ไม่รวม ผ้าอ้อม แผ่นรอง สายดูดเสมหะ อุปกรณ์ทำแผล  ไม่คิดค่าบริการ กรณีเปลี่ยนสายปัสสาวะ สายให้อาหาร
สอบถาม-ติดต่อเยี่ยมชมสถานที่ 096-405-1562,090-569-7945
02-041-3977
ราคาเริ่ม 16,000 บาท/เดือน


ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ
www.sansiriphysiotherapy.com



คลินิกายภาพบำบัด











x

วันศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

กลุ่มโรคของอาการปวดกล้ามเนื้อ( Myofascial pain syndrome)




Myofascial pain syndrome คือ กลุ่มโรคของอาการปวดกล้ามเนื้อ และอาการทางระบบประสาทอัตโนมัติที่เป็นผลมาจากจุดปวด (Trigger point) ที่อยู่ในกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืด เป็นโรคที่พบได้บ่อย โดยผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์ถึง 30% มีอาการปวดจาก myofascial pain syndrome พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย อายุประมาณ 30-60 ปี จุดปวดส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นที่บริเวณกล้ามเนื้อกลางลำตัว (axial pain)
ในกล้ามเนื้อของผู้ป่วยที่เป็น myofascial pain syndrome จะตรวจพบว่ามี taut band อยู่ taut band คือใยกล้ามเนื้อที่มีลักษณะแข็งและมีอาการปวดเมื่อเราตรวจด้วยการคลำ เมื่อขยายดูส่วนของ taut band เราจะพบ trigger point(TrP) ซึ่งเป็นจุดเล็กๆที่มีความไวและก่อให้เกิดอาการปวด ซึ่งอาการปวดนั้นจะเกิดขึ้นเองก็ได้หรือเกิดขึ้นเมื่อมีแรงกดจากการคลำก็ได้


ลักษณะอาการปวดของ TrP จะมีลักษณะเฉพาะ คือก่อให้เกิดอาการปวดร้าวตามตำแหน่งเฉพาะของกล้ามเนื้อแต่ละมัด ซึ่งแตกต่างกันไป(referred pain zone) และ trigger point จะมีความแตกต่างจากจุดปวดแบบ tender spot(TS) ตรงที่ tender spot นั้นจะปวดเฉพาะจุดที่มีพยาธิสภาพ แต่ไม่มีการปวดร้าวแบบ trigger point (จากรูปกากบาทสีขาวคือ trigger point ส่วนสีแดงคือลักษณะการปวดร้าวไปตามตำแหน่งต่างๆของ TrP)


ปัจจัยที่เป็นสาเหตุให้เกิด myofascial pain syndrome
1.การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ(Trauma) ประกอบด้วย Macrotrauma เช่นการเกิด sprain ของกล้ามเนื้อ และMicrotrauma ซึ่งเกิดจากการใช้งานซ้ำๆของกล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งอย่างมากเกินไป (repetitive overload)
2.การที่ร่างกายอยู่ในท่าทางใดท่าทางหนึ่งนานจนเกินไป ทำให้เกิดลักษณะของกล้ามเนื้อที่ไม่สมดุล(muscle imbalance) ประกอบด้วย
- ปัจจัยภายใน เช่น posture ที่ไม่เหมาะสม สภาพร่างกายที่ลักษณะของการผิดรูปหรือมีแนวลำตัวที่ผิดปกติ เช่น scoliosis
-ปัจจัยภายนอก เช่น ท่าทางที่ไม่เหมาะสมจากการทำงาน
3.การมีรากประสาทได้รับการกดทับ (Nerve Root Compression) การมีการอักเสบของเส้นประสาทจากการกดของรากประสาท อาจส่งผลให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อที่เลี้ยงด้วยเส้นประสาทนั้นๆตามมาได้
4.สภาวะผิดปกติทางอารมณ์และจิตใจ สภาวะความเครียด วิตกกังวล จะส่งผลทำให้เกิดการล้าของกล้ามเนื้อได้ง่าย
5.โรคทางระบบต่อมไร้ท่อ เช่น การขาดฮอร์โมนไทรอยด์ การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน
6.ภาวะขาดวิตามินบางชนิด เช่น วิตามินบี วิตามินซี การขาด folic




การรักษาทางกายภาพบำบัด
1.การยืดกล้ามเนื้อเฉพาะมัดกล้ามเนื้อ (stretching)
2.การmassage ด้วยการกดค้างลงบนจุด trigger point
3.การใช้แผ่นร้อน (hot pack) คลายกล้ามเนื้อ
4.การใช้เครื่อง ultrasound เพื่อลดอาการปวดและคลายกล้ามเนื้อ

วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Parkinson


Parkinson



พาร์กินสันเป็นโรคที่เกิดจากพยาธิสภาพที่ basal ganglia บริเวณ substantia nigra ทำให้มีการผลิตสารสื่อประสาทที่ชื่อ สารโดปามีนน้อยลง ส่งผลให้สมองสูญเสียการควบคุมการสั่งงานของกล้ามเนื้อ
สาเหตุของโรคพาร์กินสัน

ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคพาร์กินสันอย่างแน่ชัด แต่เชื่อว่ามีปัจจัยที่อาจส่งผลให้เกิดโรคพาร์กินสันได้ ได้แก่
ปัจจัยทางพันธุกรรม ในรายที่มียีนผิดปกติอาจเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคพาร์กินสันได้
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น การได้รับสารบางอย่างเป็นเวลานานๆ ไม่ว่าจะโดยการสูดดมหรือการรับประทาน หากแต่ยังไม่ทราบว่าสารใดในสิ่งแวดล้อมที่มีส่วนทำให้เกิดโรคพาร์กินสัน




ลักษณะอาการในระยะแรกที่ชัดเจนในผู้ป่วยพาร์กินสัน  คือปัญหาด้านกล้ามเนื้อ ดังนี้
- akinesia (มีปัญหาในการเริ่มการเคลื่อนไหว)
- bradykinesia (การเคลื่อนไหวช้า)
- muscle rigidity (กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง)
- resting tremor (มีอาการสั่นขณะพัก)
- abnormalities of posture, gait, and balance (มีลักษณะการเดินที่ช้าลง ไหล่งุ้ม และล้มง่าย)
อาการอื่นๆที่พบคือ
- การเขียนตัวอักษรเล็กลง
- มีปัญหาด้านการพูด แบบ dysarthria
- ขณะเดินมีการแกว่งแขนน้อยลง
- เดินแบบก้าวสั้นๆ และโน้มตัวไปก่อนที่จะก้าวขา ที่เรียกว่า shuffling gait
- ไม่ค่อยกระพริบตา มีอาการตาแห้ง
- มีอาการเครียด วิตกกังวล
- มีปัญหานอนไม่หลับและมีความดันโลหิตลดลง
- ผิวหนังมีปัญหา เช่น รังแค หรือผิวมันผิดปกติ
- เกิดอาการความดันตกในขณะเปลี่ยนท่า ทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการล้ม
- การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายผิดปกติ
- สูญเสียการควบคุมระบบขับถ่าย
-  มีปัญหาเกี่ยวกับระบบการรับความรู้สึก เช่น มีอาการปวด ชา ปวดแสบร้อน ปวดศีรษะ 
ปวดหลังโดยไม่มีสาเหตุที่ชัดเจน





โดยศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์